แนวข้อสอบตํารวจสายปราบปราม ปี 2554
.มาตรา 1 พระราชกฤษฏีกานี้เรียกว่า “พระราชกฤษฏีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 ”
มาตรา 2 พระกฤษฏีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป
ข้อ 1 การปฏิบัติตามพระราชกฤษฏีกานี้ในเรื่องใดสมควรที่ส่วนราชการใดจะปฏิบัติเมื่อใดและจะต้องมีเงื่อนไขอย่างใด ให้เป็นไปเช่นใด?
ก. ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ ก.พ.ร.
ข. ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ พ.ร.ก.
ค. ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ ก.พ.
ง. ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ พ.ร.บ.
.ตอบ ก. ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ ก.พ.ร.( มาตรา 3)
มาตรา 3 การปฏิบัติตามพระราชกฤษฏีกานี้ในเรื่องใดสมควรที่ส่วนราชการใดจะปฏิบัติเมื่อใดและจะต้องมีเงื่อนไขอย่างใด ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ ก.พ.ร. (หวังว่าเข้าใจคำว่า ก.พ.ร.และ พ.ร.ก.แล้วนะครับหากยังไม่เข้าใจย้อนขึ้นไปดูนะครับ)
ข้อ 2 ในพระราชกฤษฏีกานี้ คำว่า “ ส่วนราชการ ” หมายความว่า อย่างไร?
ก. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริการ รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายนิติบัญญัติ แต่ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ค. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายนิติบัญญัติ รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ง. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริหาร แต่ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตอบ ง. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริหาร แต่ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(มาตรา 4)
มาตรา 4 ในพระราชกฤษฏีกานี้
“ ส่วนราชการ ” หมายความว่า ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับข่องราชการฝ่ายบริหาร แต่ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
“รัฐวิสาหกิจ ”หมายความว่า รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฏีกา
“ข้าราชการ ” หมายความรวมถึงพนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานในส่วนราชการ
ข้อ 3 “ข้าราชการ ” ตามพระราชกฤษฏีกานี้หมายความรวมถึงใครบ้าง?
ก. พนักงาน
ข. ลูกจ้าง
ค. ผู้ปฏิบัติงานในส่วนราชการ
ง. ถูกหมด
ตอบ ง.ถูกหมด (มาตรา 4 ดูคำเฉลยข้อ 2)
ข้อ 4 “รัฐวิสาหกิจ ”หมายความว่า อย่างไร?
ก. รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ
ข. รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฏีกา
ค. รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยกฎกระทรวง
ง. ถูกหมดทั้ง ก.และ ข.
ตอบ ง. ถูกหมดทั้ง ก.และ ข.
(มาตรา 4 ดูคำเฉลยข้อ 2)
ข้อ 5 ใครเป็นผู้รักษาการ ตาม พระราชกฤษฏีกานี้
ก.นายกรัฐมนตรี
ข.ประธานคณะกรรมการสำนักงานพัฒนาระบบราชการไทย
ค.คณะรัฐมนตรี
ง.ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ตอบ ก.นายกรัฐมนตรี มาตรา 5
มาตรา 5 ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชกฤษฏีกานี้
ข้อ 6 ข้อใดเป็นการบริหารเพื่อบรรลุเป้าหมายของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ก. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ค. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ง.ถูกหมดทุกข้อ
ตอบ ง.ถูกหมดทุกข้อ( หมวดที่ 1 มาตรา 6)
ข้อ 7 ข้อใดผิดเรื่องของบริหารเพื่อบรรลุเป้าหมายของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ก. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น
ข. มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์
ค. ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวก และได้รับการตอบสนองความต้องการ
ง. มีการวางแผนเตรียมการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ
ตอบ ง. มีการวางแผนเตรียมการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ ( หมวดที่ 1 มาตรา 6)
มาตรา 2 พระกฤษฏีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป
ข้อ 1 การปฏิบัติตามพระราชกฤษฏีกานี้ในเรื่องใดสมควรที่ส่วนราชการใดจะปฏิบัติเมื่อใดและจะต้องมีเงื่อนไขอย่างใด ให้เป็นไปเช่นใด?
ก. ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ ก.พ.ร.
ข. ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ พ.ร.ก.
ค. ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ ก.พ.
ง. ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ พ.ร.บ.
.ตอบ ก. ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ ก.พ.ร.( มาตรา 3)
มาตรา 3 การปฏิบัติตามพระราชกฤษฏีกานี้ในเรื่องใดสมควรที่ส่วนราชการใดจะปฏิบัติเมื่อใดและจะต้องมีเงื่อนไขอย่างใด ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะ ก.พ.ร. (หวังว่าเข้าใจคำว่า ก.พ.ร.และ พ.ร.ก.แล้วนะครับหากยังไม่เข้าใจย้อนขึ้นไปดูนะครับ)
ข้อ 2 ในพระราชกฤษฏีกานี้ คำว่า “ ส่วนราชการ ” หมายความว่า อย่างไร?
ก. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริการ รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายนิติบัญญัติ แต่ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ค. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายนิติบัญญัติ รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ง. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริหาร แต่ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตอบ ง. ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริหาร แต่ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(มาตรา 4)
มาตรา 4 ในพระราชกฤษฏีกานี้
“ ส่วนราชการ ” หมายความว่า ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับข่องราชการฝ่ายบริหาร แต่ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
“รัฐวิสาหกิจ ”หมายความว่า รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฏีกา
“ข้าราชการ ” หมายความรวมถึงพนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานในส่วนราชการ
ข้อ 3 “ข้าราชการ ” ตามพระราชกฤษฏีกานี้หมายความรวมถึงใครบ้าง?
ก. พนักงาน
ข. ลูกจ้าง
ค. ผู้ปฏิบัติงานในส่วนราชการ
ง. ถูกหมด
ตอบ ง.ถูกหมด (มาตรา 4 ดูคำเฉลยข้อ 2)
ข้อ 4 “รัฐวิสาหกิจ ”หมายความว่า อย่างไร?
ก. รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ
ข. รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฏีกา
ค. รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยกฎกระทรวง
ง. ถูกหมดทั้ง ก.และ ข.
ตอบ ง. ถูกหมดทั้ง ก.และ ข.
(มาตรา 4 ดูคำเฉลยข้อ 2)
ข้อ 5 ใครเป็นผู้รักษาการ ตาม พระราชกฤษฏีกานี้
ก.นายกรัฐมนตรี
ข.ประธานคณะกรรมการสำนักงานพัฒนาระบบราชการไทย
ค.คณะรัฐมนตรี
ง.ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ตอบ ก.นายกรัฐมนตรี มาตรา 5
มาตรา 5 ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชกฤษฏีกานี้
ข้อ 6 ข้อใดเป็นการบริหารเพื่อบรรลุเป้าหมายของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ก. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ค. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ง.ถูกหมดทุกข้อ
ตอบ ง.ถูกหมดทุกข้อ( หมวดที่ 1 มาตรา 6)
ข้อ 7 ข้อใดผิดเรื่องของบริหารเพื่อบรรลุเป้าหมายของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ก. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น
ข. มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์
ค. ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวก และได้รับการตอบสนองความต้องการ
ง. มีการวางแผนเตรียมการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ
ตอบ ง. มีการวางแผนเตรียมการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ ( หมวดที่ 1 มาตรา 6)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น