ข้อสอบตำรวจที่ออกบ่อย
1. การออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ เป็นอำนาจของ
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รองนายกรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมายให้ควบคุมดูแลสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ง. คณะรัฐมนตรี
2. สำนักงานตำรวจแห่งชาติแบ่งส่วนราชการออกเป็นกี่ส่วน
ก. 2 ส่วน ข. 3 ส่วน ค. 4 ส่วน ง. 5 ส่วน
3. “ก.ต.ช.” เป็นคำย่อของ
ก. คณะกรรมการเชิงนโยบายตำรวจแห่งชาติ
ข. คณะกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ
ค. คณะกรรมการนโยบายและแผนตำรวจแห่งชาติ
ง. คณะกรรมการนโยบายสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
4. ข้อใด เป็นอำนาจของ ก.ต.ช.
ก. คัดเลือกข้าราชการตำรวจเพื่อดำเนินการแต่งตั้งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ข. คัดเลือกข้าราชการตำรวจเพื่อดำเนินการแต่งตั้งรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติขึ้นไป
ค. คัดเลือกข้าราชการตำรวจเพื่อดำเนินการแต่งตั้งผู้บัญชาการตำรวจขึ้นไป
ง. คัดเลือกข้าราชการตำรวจเพื่อดำเนินการแต่งตั้งผู้บังคับการตำรวจขึ้นไป
5. ยศตำรวจมีกี่ยศ
ก. 12 ยศ ข. 13 ยศ ค. 14 ยศ ง. 15 ยศ
6. การแต่งตั้งยศตำรวจชั้นประทวน เป็นอำนาจของผู้ใด
ก. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ข. ผู้บังคับบัญชาระดับผู้บัญชาการขึ้นไปซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ค. ผู้บังคับการขึ้นไป เฉพาะในเขตพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข.
7. ก.ตร. ผู้ทรงคุณวุฒิ แบ่งออกกี่ประเภท มีจำนวนเท่าใด
ก. 2 ประเภท คือ ผู้ซึ่งเคยรับราชการเป็นข้าราชการตำรวจ ในตำแหน่งตั้งแต่ผู้บังคับการ หรือเทียบผู้บัญชาการขึ้นไปจำนวนห้าคน และ ผู้ซึ่งไม่เป็นข้าราชการตำรวจจำนวนหกคน
ข. 2 ประเภท คือ ผู้ซึ่งเคยรับราชการเป็นข้าราชการตำรวจ ในตำแหน่งตั้งแต่ผู้บัญชาการ หรือเทียบผู้บัญชาการขึ้นไปจำนวนห้าคน และ ผู้ซึ่งไม่เป็นข้าราชการตำรวจจำนวนหกคน
ค. 2 ประเภท คือ ผู้ซึ่งเคยรับราชการเป็นข้าราชการตำรวจ ในตำแหน่งตั้งแต่ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ หรือเทียบผู้บัญชาการขึ้นไปจำนวนห้าคน และ ผู้ซึ่งไม่เป็นข้าราชการตำรวจจำนวนหกคน
ง. 2 ประเภท คือ ผู้ซึ่งเคยรับราชการเป็นข้าราชการตำรวจ ในตำแหน่งตั้งแต่รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ หรือเทียบผู้บัญชาการขึ้นไปจำนวนห้าคน และ ผู้ซึ่งไม่เป็นข้าราชการตำรวจจำนวนหกคน
8. ข้อใด ไม่ใช่ อำนาจหน้าที่ของ ก.ตร. ในการออกกฎ ก.ตร.
ก. กำกับดูแล ตรวจสอบ และแนะนำ เพื่อให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติบริหารงานบุคคลให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ
ข. รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาปรับปรุงเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง เงินเพิ่มค่าครองชีพ สวัสดิการ หรือประโยชน์เกื้อเราลอื่นสำหรับข้าราชการตำรวจให้เหมาะสม
ค. กำหนดชั้นยศที่ควรบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือนที่ควรได้รับสำหรับวุฒิปริญญาหรือประกาศนียบัตรต่างๆ
ง. ไม่มีข้อใดถูก
9. ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับคุณสมบัติหรือลักษณะต้องห้ามของกรรมการข้าราชการตำรวจผู้ทรงคุณวุฒิ ให้ ผู้ใดเป็นผู้วินิจฉัย
ก. ก.ตร. ข. ก.ต.ช. ค. นายกรัฐมนตรี ง. ถูกทุกข้อ
10. เมื่อได้รายชื่อผู้สมัครตามข้อ 57 แล้ว ให้จัดส่งบัญชีรายชื่อบุคคลดังกล่าวโดยเรียงลำดับตามตัวอักษรไปยังผู้มีสิทธิเลือกกรรมการข้าราชการตำรวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ (๑) ก่อนวันเลือกเป็นระยะเวลา
ก. ไม่น้อยกว่าสิบวัน
ข. ไม่น้อยกว่าสิบสี่วัน
ค. ไม่น้อยกว่ายี่สิบวัน
ง. ไม่น้อยกว่ายี่สิบสี่วัน
11. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ คำว่า "งานสารบรรณ" ในที่นี้หมายความว่าอย่างไร
ก.งานรับ-ส่งและเก็บรักษาหนังสือ
ข.งานร่าง-เขียนและพิมพ์หนังสือ
ค.งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร
ง.งานที่เกี่ยวกับงานทะเบียนเอกสาร
12. ลักษณะในข้อใดที่เหมาะสำหรับผู้ปฏิบัติงานสารบรรณ
ก.มีความรู้ภาษาไทย
ข.มีความสุขุม ละเอียด รอบคอบ
ค.ปฏิบัติงานด้วยความรวดเร็ว ถูกต้อง
ง.ถูกทั้ง ก. ข. และ ค. ประกอบกัน
13. หนังสือทีใช้ประทับตราใช้ในกรณีใดบ้าง
ก.ขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม
ข.การเตือนเรื่องที่ค้าง
ค.ส่งสิ่งของ เอกสาร สำเนา
ง.ถูกทั้งข้อ ก. ข. และ ค.
จงพิจารณาตัวเลือกต่อไป แล้วใช้ตอบคำถามตั้งแต่ ข้อ 14 ถึง 17
ก.แถลงการณ์ ข.ข้อบังคับ ค.คำสั่ง ง.ไม่ใช่ทั้ง ก. ข. และ ค.
14. บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้โดยอาศัยอำนาจของกฎหมาย ข
15. บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพื่อทำความเข้าใจในกิจการของทางราชการ หรือเหตุการณ์ หรือกรณีใดๆ ให้ทราบชัดเจน ก
16. บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย ค
17. บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบทั่วกัน ง
18. หนังสือต่อไปนี้ มีหนังสือประเภทใดที่ต้องเก็บรักษาไว้ตลอดไป
ก.หนังสือที่เกี่ยวกับความลับ
ข.หนังสือที่มีหลักฐานการโต้ตอบ
ค.หนังสือที่เกี่ยวกับสถิติหลักฐาน
ง.หนังสือสำนวนการสอบสวน
19. การเก็บหนังสือราชการปกติจะต้องเก็บรักษาไว้กี่ปี
ก.5 ปี ข.10 ปี ค.15 ปี ง.20 ปี
20. ข้อใดอาจช่วยให้หนังสือราชการมีใจความแจ่มชัด
ก.การใช้ภาษาที่ง่าย สั้น แต่ได้ใจความดี
ข.การแยกแยะใจความออกเป็นข้อๆ หรือตอนๆ
ค.การท้าวความถึงเรื่องที่เคยติดต่อกันมา
ง.ถูกทั้ง ก. ข. และ ค.
21. การเสนอหนังสือที่ดีควรปฏิบัติอย่างไร
ก.ต้องเสนอเรื่องที่ไม่มีปัญหาก่อนเสมอ
ข.ต้องเสนอเรื่องสำคัญก่อนเรื่องอื่นๆ
ค.ต้องแยกเรื่องเสนอเป็นประเภทๆ ไป
ง.ต้องเรียงลำดับเรื่องเสนอก่อน-หลัง ตามวัน เดือน ปี ที่ได้รับ
22. การเก็บหนังสือแบ่งออกเป็น 3 อย่าง ข้อใดไม่ใช่วิธีการเก็บหนังสือ 1 ใน 3 อย่างดังกล่าว
ก.การเก็บก่อนปฏิบัติ
ข.การเก็บระหว่างปฏิบัติ
ค.การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
ง.การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
23. ข้อใดเรียงลำดับส่วนราชการจากใหญ่ไปหาเล็ก ได้ถูกต้อง
ก.กอง แผนก กรม กระทรวง
ข.แผนก กรม กอง กระทรวง
ค.กระทรวง กอง กรม แผนก
ง.กระทรวง กรม กอง แผนก
24. ตราที่ใช้ประทับในหนังสือประทับตราตามระเบียบงานสารบรรณกำหนดให้ใช้หมึกสีอะไร
ก.แดง ข.ดำ ค.น้ำเงิน ง.เขียว
25. ถ้าอธิบดีไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ผู้ทำงานแทนเมื่อลงนามในหนังสือจะต้องใช้คำว่าอย่างไร
ก.ใช้ตำแหน่งของผู้ทำงานแทน
ข.ทำงานแทน
ค.รักษาราชการแทน
ง.ปฏิบัติราชการแทน
26. ผู้นำ คือ
ก. ผู้ที่ไม่ได้รับมอบอำนาจทางสายงาน แต่มีอำนาจโดยวิธีอื่น
ข. ผู้ที่มีตำแหน่งที่กำหนดขึ้นในองค์การ มีอำนาจโดยตำแหน่ง
ค. ผู้ที่มียศ และตำแหน่งที่ชัดเจน
ง. ถูกทุกข้อ
27. ภาวะผู้นำในปี ค.ศ. 1930- 1940 มาจากแนวคิดทฤษฎีใด
ก. ทฤษฎีการนำของเทพ (God Theory of Lleadership)
ข. ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นำ (Behavioral Theories)
ค. ทฤษฎีมหาบุรุษ (Greatman Theory of Lleadership)
ง. ทฤษฎีอัตถนิยม (Autocratic Theories Leaders)
28. แนวคิดหลักของทฤษฎีพฤติกรรมผู้นำ (Behavioral Theories) เป็นอย่างไร
ก. ให้มองในสิ่งที่ผู้นำปฏิบัติ
ข. ชี้ให้เห็นว่าทั้งผู้นำและผู้ตามต่างมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน
ค. ผู้นำต้องมีตำแหน่งและอำนาจ
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข.
29. การบังคับบัญชาแบบขู่เข็ญมากกว่าการชมเชย เป็นลักษณะของผู้นำประเภทใด
ก. แบบใช้อำนาจ (Explortive – Authoritative)
ข. แบบใช้อำนาจเชิงเมตตา (Benevolent – Authoritative)
ค. แบบปรึกษาหารือ (Consultative – Democratic)
ง. แบบมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง (Participative – Democratic)
30. ความแตกต่างระหว่างผู้นำ กับ ผู้บริหาร คือ
ก. ตำแหน่ง
ข. ที่มาของอำนาจหน้าที่
ค.บทบาท
ง. ถูกทุกข้อ
31. ทฤษฎีมหาบุรุษ (Greatman Theory of Lleadership) เป็นของประเทศใด
ก. กรีก ข. โรมันโบราณ ค. อียิปต์ ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข.
32. ผู้นำในยุคของทฤษฎีมหาบุรุษ (Greatman Theory of Lleadership) ได้แก่
ก. พระเจ้านโปเลียน ฮิตเลอร์
ข. พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ค. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระเจ้าตากสินมหาราช
ง. ถูกทุกข้อ
33. Likert’s Michigan Studies แบ่งลักษณะผู้นำเป็นกี่แบบ
ก. 2 แบบ ข. 3 แบบ ค. 4 แบบ ง. 5 แบบ
34. การบริหารแบบไหน ที่ Likert พบว่า จะทำให้ผู้นำประสบผลสำเร็จและเป็นผู้นำที่มีประสิทธิภาพ และยังพบว่าผลผลิตสูงขึ้นด้วย ซึ่งความสำเร็จขึ้นกับการมีส่วนร่วมมากน้อยของผู้ใต้บังคับบัญชา
ก. แบบใช้อำนาจ (Explortive – Authoritative)
ข. แบบใช้อำนาจเชิงเมตตา (Benevolent – Authoritative)
ค. แบบปรึกษาหารือ (Consultative – Democratic)
ง. แบบมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง (Participative – Democratic)
35. Blake and Mouton’s managerial Grid กำหนดปัจจัยการมีภาวะผู้นำที่ดีมีกี่ปัจจัย อะไรบ้าง
ก. 2 ปัจจัย คือ คน (People) และเงิน (Anoey)
ข. 2 ปัจจัย คือ คน (People) และผลผลิต (Product)
ค. 2 ปัจจัย คือ เงิน (Anoey) และผลผลิต (Product)
ง. 2 ปัจจัย คือ คน (People) และกระบวนการ (Process)
36. ตามข้อ 33 มีอะไรบ้าง
ก. แบบใช้อำนาจ (Explortive – Authoritative) และ แบบใช้อำนาจเชิงเมตตา (Benevolent – Authoritative)
ข. แบบปรึกษาหารือ (Consultative – Democratic) และ แบบมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง (Participative – Democratic)
ค. แบบใช้อำนาจ (Explortive – Authoritative) , แบบใช้อำนาจเชิงเมตตา (Benevolent – Authoritative) และ แบบปรึกษาหารือ (Consultative – Democratic)
ง. แบบใช้อำนาจ (Explortive – Authoritative) ,แบบใช้อำนาจเชิงเมตตา (Benevolent – Authoritative) แบบปรึกษาหารือ (Consultative – Democratic) และ แบบมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง (Participative – Democratic)
37. Leadership หมายถึง ผู้ใด
ก. ผู้บริหาร ข. ผู้นำ ค. ผู้นำมาบริหาร ง. ถูกทุกข้อ
38. ทฤษฎีมหาบุรุษ (Greatman Theory of Lleadership) มีความเชื่อว่า
ก. ภาวะผู้นำเกิดขึ้นโดยการยกย่องของประชาชน
ข. ภาวะผู้นำเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือโดยกำเนิด (Born leader) ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
แต่สามารถพัฒนาขึ้นได้
ค. ภาวะผู้นำเกิดขึ้นตามคำสั่งของเทพเจ้า (God leader) ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
ง. ภาวะผู้นำเกิดขึ้นตามสถานการณ์ ( Case leader) และสามารถเปลี่ยนแปลงได้
39. ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นำ (Behavioral Theories) เกิดขึ้นในปีใด
ก. ค.ศ.1940 – 1960
ข. ค.ศ.1960 – 1980
ค. ค.ศ.1980 – 1990
ง. ค.ศ.2000 – 2005
40. ลักษณะผู้นำที่ดีและมีประสิทธิภาพสูงตามทฤษฎีมหาบุรุษ (Greatman Theory of Lleadership)จะประกอบด้วย
ก. ความเฉลียวฉลาด
ข. บุคลิกภาพซึ่งแสดงถึงการเป็นผู้นำ
ค. ต้องเป็นผู้ที่มีความสามารถด้วย
ง. ถูกทุกข้อ
41. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ตราเป็น
ก. พระราชบัญญัติ
ข. พระราชกำหนด
ค. พระราชกฤษฎีกา
ง. กฎกระทรวง
42. ข้อใดถือว่าเป็นเป้าหมายของการบริหารราชการตามกฎหมายนี้
ก. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ค. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ง. ถูกทุกข้อ
43. การเสนอมาตรการกำกับการปฏิบัติราชการ ต่อคณะรับฒนตรี ต้องทำเป็น
ก. ลายลักษณ์อักษร
ข. วาจา
ค. โดยวิธีอื่นใด
ง. ถูกทุกข้อ
44. แผนการบริหารตามส่วนราชการ เป็นแผน
ก. 2 ปี
ข. 4 ปี
ค. 8 ปี
ง. แล้วแต่นโยบายที่ส่วนราชการกำหนด
45. เมื่อนายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง หัวหน้าส่วนราชการมีหน้าที่สรุปผลการปฏิบัติราชการและให้ข้อมูลต่อนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ตามที่
ก. นายกรัฐมนตรีคนใหม่สั่งการ
ข. ตามที่ เลขาธิการ ก.พ.ร.แจ้งมา
ค. ตามที่สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรีแจ้งมา
ง. สรุปทันที โดยไม่รอสั่งการ
46. เพื่อประโยชน์ในการจัดตั้งงบประมาณของส่วนราชการในปีต่อไป ให้หน่วยงานใดจัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่ เพื่อรายงานคณะรัฐมนตรีสำหรับเป็นแนวทางในการพิจารณาว่าภารกิจใดสมควรจะได้ดำเนินการต่อไปหรือยุบเลิก
ก. สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ข. สำนักงบประมาณ
ค. กรมบัญชีกลาง
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข.
47. ความคุ้มค่าตามข้อที่แล้ว หมายถึง
ก. ประโยชน์หรือผลเสียทางสังคม
ข. ประโยชน์หรือผลเสียอื่นๆ
ค. ประโยชน์หรือผลเสียซึ่งไม่อาจคำนวณเป็นตัวเงินได้
ง. ถูกทุกข้อ
48. เพื่อประโยชน์ในการลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน หน่วยงานใดที่สามารถเสนอหลักเกณฑ์ และวิธีการหรือแนวทางในการกระจายอำนาจการตัดสินใจ ความรับผิดชอบระหว่างผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ และการลดขั้นตอนในการปฏิบัติราชการให้ส่วนราชการถือปฏิบัติก็ได้
ก. ก.พ.ร.
ข. สำนักงบประมาณ
ค. กรมบัญชีกลาง
ง. ถูกทุกข้อ
49. ในกรณีที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอแนะต่อส่วนราชการให้ดำเนินการแก้ไข ปรับปรุงหรือยกเลิกกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการนั้น แต่ส่วนราชการที่ได้รับการเสนอแนะไม่เห็นชอบด้วย กับคำเสนอแนะของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ให้เสนอเรื่องต่อหน่วยงานเป็นผู้เพื่อพิจารณาวินิจฉัย
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. เลขาธิการ กพ.
ค. เลขาธิการ ก.พ.ร.
ง. ถูกทุกข้อ
50. เมื่อส่วนราชการใดได้ดำเนินงานไปตามเป้าหมาย สามารถเพิ่มผลงาน และผลสัมฤทธิ์โดยไม่เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายและคุ้มค่าต่อภารกิจของรัฐ หรือสามารถดำเนินการตามแผนการลดค่าใช้จ่ายต่อหน่วยได้ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ.ร. กำหนด ให้ ก.พ.ร. เสนอคณะรัฐมนตรี
ก. ให้ขั้นเงินเดือนเป็นกรณีพิเศษ
ข. ให้งบประมาณเพิ่มขึ้นร้อยละ 20
ค. จัดสรรเงินรางวัลการเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ส่วนราชการนั้น
ง. ถูกทุกข้อ
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รองนายกรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมายให้ควบคุมดูแลสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ง. คณะรัฐมนตรี
2. สำนักงานตำรวจแห่งชาติแบ่งส่วนราชการออกเป็นกี่ส่วน
ก. 2 ส่วน ข. 3 ส่วน ค. 4 ส่วน ง. 5 ส่วน
3. “ก.ต.ช.” เป็นคำย่อของ
ก. คณะกรรมการเชิงนโยบายตำรวจแห่งชาติ
ข. คณะกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ
ค. คณะกรรมการนโยบายและแผนตำรวจแห่งชาติ
ง. คณะกรรมการนโยบายสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
4. ข้อใด เป็นอำนาจของ ก.ต.ช.
ก. คัดเลือกข้าราชการตำรวจเพื่อดำเนินการแต่งตั้งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ข. คัดเลือกข้าราชการตำรวจเพื่อดำเนินการแต่งตั้งรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติขึ้นไป
ค. คัดเลือกข้าราชการตำรวจเพื่อดำเนินการแต่งตั้งผู้บัญชาการตำรวจขึ้นไป
ง. คัดเลือกข้าราชการตำรวจเพื่อดำเนินการแต่งตั้งผู้บังคับการตำรวจขึ้นไป
5. ยศตำรวจมีกี่ยศ
ก. 12 ยศ ข. 13 ยศ ค. 14 ยศ ง. 15 ยศ
6. การแต่งตั้งยศตำรวจชั้นประทวน เป็นอำนาจของผู้ใด
ก. ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ข. ผู้บังคับบัญชาระดับผู้บัญชาการขึ้นไปซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
ค. ผู้บังคับการขึ้นไป เฉพาะในเขตพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข.
7. ก.ตร. ผู้ทรงคุณวุฒิ แบ่งออกกี่ประเภท มีจำนวนเท่าใด
ก. 2 ประเภท คือ ผู้ซึ่งเคยรับราชการเป็นข้าราชการตำรวจ ในตำแหน่งตั้งแต่ผู้บังคับการ หรือเทียบผู้บัญชาการขึ้นไปจำนวนห้าคน และ ผู้ซึ่งไม่เป็นข้าราชการตำรวจจำนวนหกคน
ข. 2 ประเภท คือ ผู้ซึ่งเคยรับราชการเป็นข้าราชการตำรวจ ในตำแหน่งตั้งแต่ผู้บัญชาการ หรือเทียบผู้บัญชาการขึ้นไปจำนวนห้าคน และ ผู้ซึ่งไม่เป็นข้าราชการตำรวจจำนวนหกคน
ค. 2 ประเภท คือ ผู้ซึ่งเคยรับราชการเป็นข้าราชการตำรวจ ในตำแหน่งตั้งแต่ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ หรือเทียบผู้บัญชาการขึ้นไปจำนวนห้าคน และ ผู้ซึ่งไม่เป็นข้าราชการตำรวจจำนวนหกคน
ง. 2 ประเภท คือ ผู้ซึ่งเคยรับราชการเป็นข้าราชการตำรวจ ในตำแหน่งตั้งแต่รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ หรือเทียบผู้บัญชาการขึ้นไปจำนวนห้าคน และ ผู้ซึ่งไม่เป็นข้าราชการตำรวจจำนวนหกคน
8. ข้อใด ไม่ใช่ อำนาจหน้าที่ของ ก.ตร. ในการออกกฎ ก.ตร.
ก. กำกับดูแล ตรวจสอบ และแนะนำ เพื่อให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติบริหารงานบุคคลให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ
ข. รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาปรับปรุงเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง เงินเพิ่มค่าครองชีพ สวัสดิการ หรือประโยชน์เกื้อเราลอื่นสำหรับข้าราชการตำรวจให้เหมาะสม
ค. กำหนดชั้นยศที่ควรบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือนที่ควรได้รับสำหรับวุฒิปริญญาหรือประกาศนียบัตรต่างๆ
ง. ไม่มีข้อใดถูก
9. ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับคุณสมบัติหรือลักษณะต้องห้ามของกรรมการข้าราชการตำรวจผู้ทรงคุณวุฒิ ให้ ผู้ใดเป็นผู้วินิจฉัย
ก. ก.ตร. ข. ก.ต.ช. ค. นายกรัฐมนตรี ง. ถูกทุกข้อ
10. เมื่อได้รายชื่อผู้สมัครตามข้อ 57 แล้ว ให้จัดส่งบัญชีรายชื่อบุคคลดังกล่าวโดยเรียงลำดับตามตัวอักษรไปยังผู้มีสิทธิเลือกกรรมการข้าราชการตำรวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ (๑) ก่อนวันเลือกเป็นระยะเวลา
ก. ไม่น้อยกว่าสิบวัน
ข. ไม่น้อยกว่าสิบสี่วัน
ค. ไม่น้อยกว่ายี่สิบวัน
ง. ไม่น้อยกว่ายี่สิบสี่วัน
11. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ คำว่า "งานสารบรรณ" ในที่นี้หมายความว่าอย่างไร
ก.งานรับ-ส่งและเก็บรักษาหนังสือ
ข.งานร่าง-เขียนและพิมพ์หนังสือ
ค.งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร
ง.งานที่เกี่ยวกับงานทะเบียนเอกสาร
12. ลักษณะในข้อใดที่เหมาะสำหรับผู้ปฏิบัติงานสารบรรณ
ก.มีความรู้ภาษาไทย
ข.มีความสุขุม ละเอียด รอบคอบ
ค.ปฏิบัติงานด้วยความรวดเร็ว ถูกต้อง
ง.ถูกทั้ง ก. ข. และ ค. ประกอบกัน
13. หนังสือทีใช้ประทับตราใช้ในกรณีใดบ้าง
ก.ขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม
ข.การเตือนเรื่องที่ค้าง
ค.ส่งสิ่งของ เอกสาร สำเนา
ง.ถูกทั้งข้อ ก. ข. และ ค.
จงพิจารณาตัวเลือกต่อไป แล้วใช้ตอบคำถามตั้งแต่ ข้อ 14 ถึง 17
ก.แถลงการณ์ ข.ข้อบังคับ ค.คำสั่ง ง.ไม่ใช่ทั้ง ก. ข. และ ค.
14. บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้โดยอาศัยอำนาจของกฎหมาย ข
15. บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพื่อทำความเข้าใจในกิจการของทางราชการ หรือเหตุการณ์ หรือกรณีใดๆ ให้ทราบชัดเจน ก
16. บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย ค
17. บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบทั่วกัน ง
18. หนังสือต่อไปนี้ มีหนังสือประเภทใดที่ต้องเก็บรักษาไว้ตลอดไป
ก.หนังสือที่เกี่ยวกับความลับ
ข.หนังสือที่มีหลักฐานการโต้ตอบ
ค.หนังสือที่เกี่ยวกับสถิติหลักฐาน
ง.หนังสือสำนวนการสอบสวน
19. การเก็บหนังสือราชการปกติจะต้องเก็บรักษาไว้กี่ปี
ก.5 ปี ข.10 ปี ค.15 ปี ง.20 ปี
20. ข้อใดอาจช่วยให้หนังสือราชการมีใจความแจ่มชัด
ก.การใช้ภาษาที่ง่าย สั้น แต่ได้ใจความดี
ข.การแยกแยะใจความออกเป็นข้อๆ หรือตอนๆ
ค.การท้าวความถึงเรื่องที่เคยติดต่อกันมา
ง.ถูกทั้ง ก. ข. และ ค.
21. การเสนอหนังสือที่ดีควรปฏิบัติอย่างไร
ก.ต้องเสนอเรื่องที่ไม่มีปัญหาก่อนเสมอ
ข.ต้องเสนอเรื่องสำคัญก่อนเรื่องอื่นๆ
ค.ต้องแยกเรื่องเสนอเป็นประเภทๆ ไป
ง.ต้องเรียงลำดับเรื่องเสนอก่อน-หลัง ตามวัน เดือน ปี ที่ได้รับ
22. การเก็บหนังสือแบ่งออกเป็น 3 อย่าง ข้อใดไม่ใช่วิธีการเก็บหนังสือ 1 ใน 3 อย่างดังกล่าว
ก.การเก็บก่อนปฏิบัติ
ข.การเก็บระหว่างปฏิบัติ
ค.การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
ง.การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
23. ข้อใดเรียงลำดับส่วนราชการจากใหญ่ไปหาเล็ก ได้ถูกต้อง
ก.กอง แผนก กรม กระทรวง
ข.แผนก กรม กอง กระทรวง
ค.กระทรวง กอง กรม แผนก
ง.กระทรวง กรม กอง แผนก
24. ตราที่ใช้ประทับในหนังสือประทับตราตามระเบียบงานสารบรรณกำหนดให้ใช้หมึกสีอะไร
ก.แดง ข.ดำ ค.น้ำเงิน ง.เขียว
25. ถ้าอธิบดีไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ผู้ทำงานแทนเมื่อลงนามในหนังสือจะต้องใช้คำว่าอย่างไร
ก.ใช้ตำแหน่งของผู้ทำงานแทน
ข.ทำงานแทน
ค.รักษาราชการแทน
ง.ปฏิบัติราชการแทน
26. ผู้นำ คือ
ก. ผู้ที่ไม่ได้รับมอบอำนาจทางสายงาน แต่มีอำนาจโดยวิธีอื่น
ข. ผู้ที่มีตำแหน่งที่กำหนดขึ้นในองค์การ มีอำนาจโดยตำแหน่ง
ค. ผู้ที่มียศ และตำแหน่งที่ชัดเจน
ง. ถูกทุกข้อ
27. ภาวะผู้นำในปี ค.ศ. 1930- 1940 มาจากแนวคิดทฤษฎีใด
ก. ทฤษฎีการนำของเทพ (God Theory of Lleadership)
ข. ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นำ (Behavioral Theories)
ค. ทฤษฎีมหาบุรุษ (Greatman Theory of Lleadership)
ง. ทฤษฎีอัตถนิยม (Autocratic Theories Leaders)
28. แนวคิดหลักของทฤษฎีพฤติกรรมผู้นำ (Behavioral Theories) เป็นอย่างไร
ก. ให้มองในสิ่งที่ผู้นำปฏิบัติ
ข. ชี้ให้เห็นว่าทั้งผู้นำและผู้ตามต่างมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน
ค. ผู้นำต้องมีตำแหน่งและอำนาจ
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข.
29. การบังคับบัญชาแบบขู่เข็ญมากกว่าการชมเชย เป็นลักษณะของผู้นำประเภทใด
ก. แบบใช้อำนาจ (Explortive – Authoritative)
ข. แบบใช้อำนาจเชิงเมตตา (Benevolent – Authoritative)
ค. แบบปรึกษาหารือ (Consultative – Democratic)
ง. แบบมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง (Participative – Democratic)
30. ความแตกต่างระหว่างผู้นำ กับ ผู้บริหาร คือ
ก. ตำแหน่ง
ข. ที่มาของอำนาจหน้าที่
ค.บทบาท
ง. ถูกทุกข้อ
31. ทฤษฎีมหาบุรุษ (Greatman Theory of Lleadership) เป็นของประเทศใด
ก. กรีก ข. โรมันโบราณ ค. อียิปต์ ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข.
32. ผู้นำในยุคของทฤษฎีมหาบุรุษ (Greatman Theory of Lleadership) ได้แก่
ก. พระเจ้านโปเลียน ฮิตเลอร์
ข. พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ค. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระเจ้าตากสินมหาราช
ง. ถูกทุกข้อ
33. Likert’s Michigan Studies แบ่งลักษณะผู้นำเป็นกี่แบบ
ก. 2 แบบ ข. 3 แบบ ค. 4 แบบ ง. 5 แบบ
34. การบริหารแบบไหน ที่ Likert พบว่า จะทำให้ผู้นำประสบผลสำเร็จและเป็นผู้นำที่มีประสิทธิภาพ และยังพบว่าผลผลิตสูงขึ้นด้วย ซึ่งความสำเร็จขึ้นกับการมีส่วนร่วมมากน้อยของผู้ใต้บังคับบัญชา
ก. แบบใช้อำนาจ (Explortive – Authoritative)
ข. แบบใช้อำนาจเชิงเมตตา (Benevolent – Authoritative)
ค. แบบปรึกษาหารือ (Consultative – Democratic)
ง. แบบมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง (Participative – Democratic)
35. Blake and Mouton’s managerial Grid กำหนดปัจจัยการมีภาวะผู้นำที่ดีมีกี่ปัจจัย อะไรบ้าง
ก. 2 ปัจจัย คือ คน (People) และเงิน (Anoey)
ข. 2 ปัจจัย คือ คน (People) และผลผลิต (Product)
ค. 2 ปัจจัย คือ เงิน (Anoey) และผลผลิต (Product)
ง. 2 ปัจจัย คือ คน (People) และกระบวนการ (Process)
36. ตามข้อ 33 มีอะไรบ้าง
ก. แบบใช้อำนาจ (Explortive – Authoritative) และ แบบใช้อำนาจเชิงเมตตา (Benevolent – Authoritative)
ข. แบบปรึกษาหารือ (Consultative – Democratic) และ แบบมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง (Participative – Democratic)
ค. แบบใช้อำนาจ (Explortive – Authoritative) , แบบใช้อำนาจเชิงเมตตา (Benevolent – Authoritative) และ แบบปรึกษาหารือ (Consultative – Democratic)
ง. แบบใช้อำนาจ (Explortive – Authoritative) ,แบบใช้อำนาจเชิงเมตตา (Benevolent – Authoritative) แบบปรึกษาหารือ (Consultative – Democratic) และ แบบมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง (Participative – Democratic)
37. Leadership หมายถึง ผู้ใด
ก. ผู้บริหาร ข. ผู้นำ ค. ผู้นำมาบริหาร ง. ถูกทุกข้อ
38. ทฤษฎีมหาบุรุษ (Greatman Theory of Lleadership) มีความเชื่อว่า
ก. ภาวะผู้นำเกิดขึ้นโดยการยกย่องของประชาชน
ข. ภาวะผู้นำเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือโดยกำเนิด (Born leader) ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
แต่สามารถพัฒนาขึ้นได้
ค. ภาวะผู้นำเกิดขึ้นตามคำสั่งของเทพเจ้า (God leader) ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
ง. ภาวะผู้นำเกิดขึ้นตามสถานการณ์ ( Case leader) และสามารถเปลี่ยนแปลงได้
39. ทฤษฎีพฤติกรรมผู้นำ (Behavioral Theories) เกิดขึ้นในปีใด
ก. ค.ศ.1940 – 1960
ข. ค.ศ.1960 – 1980
ค. ค.ศ.1980 – 1990
ง. ค.ศ.2000 – 2005
40. ลักษณะผู้นำที่ดีและมีประสิทธิภาพสูงตามทฤษฎีมหาบุรุษ (Greatman Theory of Lleadership)จะประกอบด้วย
ก. ความเฉลียวฉลาด
ข. บุคลิกภาพซึ่งแสดงถึงการเป็นผู้นำ
ค. ต้องเป็นผู้ที่มีความสามารถด้วย
ง. ถูกทุกข้อ
41. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ตราเป็น
ก. พระราชบัญญัติ
ข. พระราชกำหนด
ค. พระราชกฤษฎีกา
ง. กฎกระทรวง
42. ข้อใดถือว่าเป็นเป้าหมายของการบริหารราชการตามกฎหมายนี้
ก. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ค. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ง. ถูกทุกข้อ
43. การเสนอมาตรการกำกับการปฏิบัติราชการ ต่อคณะรับฒนตรี ต้องทำเป็น
ก. ลายลักษณ์อักษร
ข. วาจา
ค. โดยวิธีอื่นใด
ง. ถูกทุกข้อ
44. แผนการบริหารตามส่วนราชการ เป็นแผน
ก. 2 ปี
ข. 4 ปี
ค. 8 ปี
ง. แล้วแต่นโยบายที่ส่วนราชการกำหนด
45. เมื่อนายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง หัวหน้าส่วนราชการมีหน้าที่สรุปผลการปฏิบัติราชการและให้ข้อมูลต่อนายกรัฐมนตรีคนใหม่ ตามที่
ก. นายกรัฐมนตรีคนใหม่สั่งการ
ข. ตามที่ เลขาธิการ ก.พ.ร.แจ้งมา
ค. ตามที่สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรีแจ้งมา
ง. สรุปทันที โดยไม่รอสั่งการ
46. เพื่อประโยชน์ในการจัดตั้งงบประมาณของส่วนราชการในปีต่อไป ให้หน่วยงานใดจัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่ เพื่อรายงานคณะรัฐมนตรีสำหรับเป็นแนวทางในการพิจารณาว่าภารกิจใดสมควรจะได้ดำเนินการต่อไปหรือยุบเลิก
ก. สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ข. สำนักงบประมาณ
ค. กรมบัญชีกลาง
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข.
47. ความคุ้มค่าตามข้อที่แล้ว หมายถึง
ก. ประโยชน์หรือผลเสียทางสังคม
ข. ประโยชน์หรือผลเสียอื่นๆ
ค. ประโยชน์หรือผลเสียซึ่งไม่อาจคำนวณเป็นตัวเงินได้
ง. ถูกทุกข้อ
48. เพื่อประโยชน์ในการลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน หน่วยงานใดที่สามารถเสนอหลักเกณฑ์ และวิธีการหรือแนวทางในการกระจายอำนาจการตัดสินใจ ความรับผิดชอบระหว่างผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ และการลดขั้นตอนในการปฏิบัติราชการให้ส่วนราชการถือปฏิบัติก็ได้
ก. ก.พ.ร.
ข. สำนักงบประมาณ
ค. กรมบัญชีกลาง
ง. ถูกทุกข้อ
49. ในกรณีที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอแนะต่อส่วนราชการให้ดำเนินการแก้ไข ปรับปรุงหรือยกเลิกกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการนั้น แต่ส่วนราชการที่ได้รับการเสนอแนะไม่เห็นชอบด้วย กับคำเสนอแนะของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ให้เสนอเรื่องต่อหน่วยงานเป็นผู้เพื่อพิจารณาวินิจฉัย
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. เลขาธิการ กพ.
ค. เลขาธิการ ก.พ.ร.
ง. ถูกทุกข้อ
50. เมื่อส่วนราชการใดได้ดำเนินงานไปตามเป้าหมาย สามารถเพิ่มผลงาน และผลสัมฤทธิ์โดยไม่เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายและคุ้มค่าต่อภารกิจของรัฐ หรือสามารถดำเนินการตามแผนการลดค่าใช้จ่ายต่อหน่วยได้ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ.ร. กำหนด ให้ ก.พ.ร. เสนอคณะรัฐมนตรี
ก. ให้ขั้นเงินเดือนเป็นกรณีพิเศษ
ข. ให้งบประมาณเพิ่มขึ้นร้อยละ 20
ค. จัดสรรเงินรางวัลการเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่ส่วนราชการนั้น
ง. ถูกทุกข้อ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น