ข้อสอบตำรวจที่ออกบ่อย รวมชุดที่ 2 (ธุรการ)
1. พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ 2547 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา 180 วัน
ง. วันที่ 14 เม.ย.2547
ก. ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา 180 วัน
ง. วันที่ 14 เม.ย.2547
2. สำนักงานตำรวจแห่งชาติมีอำนาจหน้าที่กี่ประการ
ก. 6 ประการ ข. 7 ประการ ค. 8 ประการ ง. 9 ประการ
ก. 6 ประการ ข. 7 ประการ ค. 8 ประการ ง. 9 ประการ
3. การแบ่งส่วนราชการและกำหนดอำนาจหน้าที่ ของกองบังคับการ และ กองกำกับการ ให้ทำเป็น
ก. พระราชกำหนด ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง ง. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
ก. พระราชกำหนด ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง ง. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
4. การประกาศรายชื่อ คณะกรรมการ ก.ต.ช. ผู้ทรงคุณวุฒิ ต้องประการใน
ก. พระราชกำหนด ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง ง. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
ก. พระราชกำหนด ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง ง. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
5. ข้อใดถือเป็น องค์ประชุมของ ก.ต.ช.
ก. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
ข. ต้องมีกรรมการมาประชุมเกินกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
ค. ต้องมีกรรมการมาประชุมตั้งแต่หกคนขึ้นไป
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ค.
ก. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
ข. ต้องมีกรรมการมาประชุมเกินกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
ค. ต้องมีกรรมการมาประชุมตั้งแต่หกคนขึ้นไป
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ค.
6. ร.ต.อ.อ่อนฯ กระทำความผิดร้ายแรง จำเป็นจะต้องถูกถอดหรือการออกจากยศตำรวจชั้นสัญญาบัตร ขอทราบว่าต้องกระทำอย่างใด
ก. การถอดหรือการออกจากยศตำรวจชั้นสัญญาบัตร ต้องเป็นไปตามระเบียบสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และให้ทำโดยประกาศพระบรมราชโองการ
ข. การถอดหรือการออกจากยศตำรวจชั้นสัญญาบัตร ต้องเป็นไปตามระเบียบสำนักงานนายกรัฐมนตรี และให้ทำโดยประกาศพระบรมราชโองการ
ค. การถอดหรือการออกจากยศตำรวจชั้นสัญญาบัตร ต้องเป็นไปตาม กฎ ก.ตร. และให้ทำโดยประกาศพระบรมราชโองการ
ง. การถอดหรือการออกจากยศตำรวจชั้นสัญญาบัตร ต้องเป็นไปตามกฎ ก.ตร. และให้ทำโดยประกาศราชกิจจานุเบกษา
ก. การถอดหรือการออกจากยศตำรวจชั้นสัญญาบัตร ต้องเป็นไปตามระเบียบสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และให้ทำโดยประกาศพระบรมราชโองการ
ข. การถอดหรือการออกจากยศตำรวจชั้นสัญญาบัตร ต้องเป็นไปตามระเบียบสำนักงานนายกรัฐมนตรี และให้ทำโดยประกาศพระบรมราชโองการ
ค. การถอดหรือการออกจากยศตำรวจชั้นสัญญาบัตร ต้องเป็นไปตาม กฎ ก.ตร. และให้ทำโดยประกาศพระบรมราชโองการ
ง. การถอดหรือการออกจากยศตำรวจชั้นสัญญาบัตร ต้องเป็นไปตามกฎ ก.ตร. และให้ทำโดยประกาศราชกิจจานุเบกษา
7. ผู้ซึ่งมีความเชี่ยวชาญในสาขาใด ที่ไม่ใช่คุณสมบัติจะเป็น ก.ตร. ผู้ทรงคุณวุฒิ ประเภทไม่เป็นข้าราชการตำรวจ
ก. เศรษฐศาสตร์ ข. รัฐประศาสนศาสตร์
ค. อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม ง. วิทยาศาสตร์
ก. เศรษฐศาสตร์ ข. รัฐประศาสนศาสตร์
ค. อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม ง. วิทยาศาสตร์
8. ในกรณีที่ ก.ตร. พิจารณาเห็นว่าการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของสำนักงานตำรวจแห่งชาติไม่เหมาะสมหรือไม่เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ ให้มีมติสั่งการให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติปฏิบัติการให้ถูกต้องเหมาะสม ถ้าสำนักงานตำรวจแห่งชาติไม่ปฏิบัติการตามมติดังกล่าว ให้ ก.ตร.ดำเนินการอย่างไร
ก. รายงานต่อ ผบ.ตร.เพื่อพิจารณาและสั่งการแก้ไขภายใน 15 วัน หาก ผบ.ตร.ไม่แก้ไขให้รายงาน
ต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและสั่งการต่อไป
ข. รายงานต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและสั่งการต่อไป
ค. รายงานต่อ ก.ต.ช.เพื่อพิจารณาและสั่งการต่อไป
ง. รายงานต่อ ก.ต.ช.เพื่อให้นายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและสั่งการต่อไป
ก. รายงานต่อ ผบ.ตร.เพื่อพิจารณาและสั่งการแก้ไขภายใน 15 วัน หาก ผบ.ตร.ไม่แก้ไขให้รายงาน
ต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและสั่งการต่อไป
ข. รายงานต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและสั่งการต่อไป
ค. รายงานต่อ ก.ต.ช.เพื่อพิจารณาและสั่งการต่อไป
ง. รายงานต่อ ก.ต.ช.เพื่อให้นายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและสั่งการต่อไป
9. การเลือกกรรมการข้าราชการตำรวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๐ (๒) (ก) ผู้ใดมีหน้าที่รับสมัครบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามของการเป็นกรรมการข้าราชการตำรวจผู้ทรงคุณวุฒิ
ก. นายกรัฐมนตรี ข. ประธาน ก.ตร. ค. ผบ.ตร. ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข.
ก. นายกรัฐมนตรี ข. ประธาน ก.ตร. ค. ผบ.ตร. ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข.
10. กรรมการข้าราชการตำรวจผู้ทรงคุณวุฒิ กรณีใดเมื่อได้รับการคัดเลือก แล้วต้องเสนอไปยังคณะรัฐมนตรี เมื่อได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้นำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง
ก. กรรมการข้าราชการตำรวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๐ (๒) (ก)
ข. กรรมการข้าราชการตำรวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๐ (๒) (ข)
ค. กรรมการข้าราชการตำรวจโดยตำแหน่งตามมาตรา ๓๐ (๑)
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข.
11. ระเบียบงานสารบรรณที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเริ่มใช้บังคับตั้งแต่ เมื่อใด
ก.1 มิถุนายน 2516 ข.1 มิถุนายน 2526 ค.1 ตุลาคม 2526 ง.1 ธันวาคม 2527
12. หนังสือภายในเป็นหนังสืออย่างไร
ก.ติดต่อภายในกระทรวงเดียวกัน
ข.ติดต่อภายในกรมเดียวกัน
ค.ติดต่อภายในจังหวัดเดียวกัน
ง.ถูกทั้งข้อ ก. ข. และ ค.
13. แถลงการณ์ เป็นหนังสือประเภทใด
ก.ประทับตรา ข.สั่งการ ค.ประชาสัมพันธ์ ง.เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้น
14. หนังสือประทับตรา ผู้ใดมีอำนาจในการลงชื่อกำกับ
ก.เจ้าหน้าที่ระดับ 2 ขึ้นไป ข.หัวหน้าแผนก ค.หัวหน้าฝ่าย ง.หัวหน้ากองหรือผู้ได้รับมอบหมาย
15. หนังสือราชการที่เป็นต้นฉบับ (ตัวจริง) จะมีรูปครุฑไว้ตรงส่วนใดของหนังสือ
ก.ด้านบนขวา ข.ด้านล่างซ้าย ค.กลางหน้ากระดาษด้านบนสุด ง.ตรงส่วนใดก็ได้ขอให้เห็นเด่นชัด
16. ข้อความที่บันทึกในรายงานการประชุมมักเริ่มต้นด้วยอะไร
ก.ประธานกล่าวเปิดประชุม ข.บอกเรื่องที่จะประชุม
ค.การรับรองรายงานการประชุมครั้งก่อน ง.การอ่านรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว
17. การร่างหนังสือราชการต้องระวังเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ หลายเรื่อง เรื่องใดต่อไปนี้จำเป็นน้อยมาก
ก.แบบฟอร์ม ข.ใจความ ค.วรรคตอน ง.ตัวสะกดการันต์
18. การเสนอหนังสือคืออะไร
ก.การนำหนังสือไปส่งให้ผู้รับ
ข.การส่งหนังสือออกจากส่วนราชการ
ค.การสรุปใจความสำคัญในหนังสือเสนอให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
ง.การนำหนังสือที่ดำเนินการชั้นเจ้าหน้าที่แล้วเสนอต่อผู้บังคับบัญชา
19. ข้อใดไม่มีกำหนดไว้ในทะเบียนงานสารบรรณ
ก.ทะเบียนรับ ข.ทะเบียนจ่าย ค.ทะเบียนส่ง ง.ทะเบียนเก็บ
20. หนังสือราชการประเภทใดอาจไม่ต้องทำสำเนาคู่ฉบับไว้ก็ได้
ก.หนังสือภายนอก ข.หนังสือภายใน
ค.หนังสือสั่งการ ง.หนังสือประทับตรา
21. หนังสือประทับตราต่างกับหนังสือภายนอกและหนังสือภายในแง่ใด
ก.คำขึ้นต้น ข.คำลงท้าย ค.การลงชื่อ ง.ทั้ง ก. ข. และ ค.
22. การเขียนหนังสือราชการถึงพระภิกษุ-สามเณร ทั่วไป ใช้คำขึ้นต้นอย่างไร
ก.เรียน ข.กราบเรียน ค.ถึง ง.นมัสการ
23. ทรงบำเพ็ญพระราชกุศล ตรงกับคำสามัญว่าอย่างไร
ก.เดินทาง ข.ฟังเทศน์ ค.ทำบุญ ง.ไปวัด
24. การให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือราชการไปดู หรือคัดลอก ต้องได้รับอนุญาตจากใครก่อน
ก.เจ้าหน้าที่เก็บ ข.ประจำแผนก
ค.หัวหน้าแผนก ง.หัวหน้ากองหรือผู้ได้รับมอบหมาย
25. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ปี พ.ศ.
ก. พ.ศ.2526 ข. พ.ศ.2536 ค. พ.ศ.2546 ง. พ.ศ.2516
26. การปฏิบัติราชการที่มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนความสงบและ
ปลอดภัยของสังคมส่วนรวม ตลอดจนประโยชน์สูงสุดของประเทศ คือ
ก. การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
ข. การบริหารราชการเพื่อประโยชน์ของสังคม
ค. การบริหารราชการเพื่อประชาชน
ง. ถูกทุกข้อ
27. หนังสือราชการคืออะไร
ก.เอกสารทุกชนิดที่พิมพ์ถูกต้องตามกฎหมาย
ข.เอกสารที่เป็นหลักฐานในทางราชการ
ค.เอกสารที่มีไปถึงผู้ดำรงตำแหน่งในราชการ
ง.เอกสารที่ทางราชการเป็นเจ้าของ
28. แผนการบริหารตามข้อที่แล้ว เป็นแผน
ก. 2 ปี ข. 4 ปี ค. 8 ปี ง. แล้วแต่มติคณะรัฐมนตรีกำหนด
29. การจัดทำรายงานตามข้อที่แล้ว เสนอต่อ
ก. หัวหน้าส่วนราชการนั้น ข. รัฐมนตรีต้นสังกัด
ค. คณะรัฐมนตรี ง. ก.พ.ร.
30. ในการปฏิบัติภารกิจใด หากส่วนราชการจำเป็นต้องได้รับอนุญาต อนุมัติ หรือความเห็นชอบจากส่วนราชการ
อื่นตามที่มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือมติคณะรัฐมนตรีกำหนด ให้ส่วนราชการที่มีอำนาจ
อนุญาต อนุมัติ หรือให้ความเห็นชอบดังกล่าว แจ้งผลการพิจารณาให้ส่วนราชการที่ยื่นคำขอทราบภายใน
ก. 10 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 60 วัน
31. ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริการประชาชนหรือการติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน
ให้ส่วนราชการแต่ละแห่งจัดทำ.......เปิดเผยไว้ ณ ที่ทำการของส่วนราชการและในระบบเครือข่ายสารสนเทศของ
ส่วนราชการ เพื่อให้ประชาชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าตรวจดู
ก. แผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลา ข. แผนภูมิการดำเนินการ
ค. แผนภูมิรายละเอียดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ง. ถูกทุกข้อ
32. การปฏิบัติราชการในเรื่องใด ๆ โดยปกติให้ถือว่าเป็นเรื่อง
ก. เปิดเผย ข. เรื่องลับ ค. ปกติ ง. ถูกทุกข้อ
ก. กรรมการข้าราชการตำรวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๐ (๒) (ก)
ข. กรรมการข้าราชการตำรวจผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๐ (๒) (ข)
ค. กรรมการข้าราชการตำรวจโดยตำแหน่งตามมาตรา ๓๐ (๑)
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข้อ ข.
11. ระเบียบงานสารบรรณที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเริ่มใช้บังคับตั้งแต่ เมื่อใด
ก.1 มิถุนายน 2516 ข.1 มิถุนายน 2526 ค.1 ตุลาคม 2526 ง.1 ธันวาคม 2527
12. หนังสือภายในเป็นหนังสืออย่างไร
ก.ติดต่อภายในกระทรวงเดียวกัน
ข.ติดต่อภายในกรมเดียวกัน
ค.ติดต่อภายในจังหวัดเดียวกัน
ง.ถูกทั้งข้อ ก. ข. และ ค.
13. แถลงการณ์ เป็นหนังสือประเภทใด
ก.ประทับตรา ข.สั่งการ ค.ประชาสัมพันธ์ ง.เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้น
14. หนังสือประทับตรา ผู้ใดมีอำนาจในการลงชื่อกำกับ
ก.เจ้าหน้าที่ระดับ 2 ขึ้นไป ข.หัวหน้าแผนก ค.หัวหน้าฝ่าย ง.หัวหน้ากองหรือผู้ได้รับมอบหมาย
15. หนังสือราชการที่เป็นต้นฉบับ (ตัวจริง) จะมีรูปครุฑไว้ตรงส่วนใดของหนังสือ
ก.ด้านบนขวา ข.ด้านล่างซ้าย ค.กลางหน้ากระดาษด้านบนสุด ง.ตรงส่วนใดก็ได้ขอให้เห็นเด่นชัด
16. ข้อความที่บันทึกในรายงานการประชุมมักเริ่มต้นด้วยอะไร
ก.ประธานกล่าวเปิดประชุม ข.บอกเรื่องที่จะประชุม
ค.การรับรองรายงานการประชุมครั้งก่อน ง.การอ่านรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว
17. การร่างหนังสือราชการต้องระวังเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ หลายเรื่อง เรื่องใดต่อไปนี้จำเป็นน้อยมาก
ก.แบบฟอร์ม ข.ใจความ ค.วรรคตอน ง.ตัวสะกดการันต์
18. การเสนอหนังสือคืออะไร
ก.การนำหนังสือไปส่งให้ผู้รับ
ข.การส่งหนังสือออกจากส่วนราชการ
ค.การสรุปใจความสำคัญในหนังสือเสนอให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
ง.การนำหนังสือที่ดำเนินการชั้นเจ้าหน้าที่แล้วเสนอต่อผู้บังคับบัญชา
19. ข้อใดไม่มีกำหนดไว้ในทะเบียนงานสารบรรณ
ก.ทะเบียนรับ ข.ทะเบียนจ่าย ค.ทะเบียนส่ง ง.ทะเบียนเก็บ
20. หนังสือราชการประเภทใดอาจไม่ต้องทำสำเนาคู่ฉบับไว้ก็ได้
ก.หนังสือภายนอก ข.หนังสือภายใน
ค.หนังสือสั่งการ ง.หนังสือประทับตรา
21. หนังสือประทับตราต่างกับหนังสือภายนอกและหนังสือภายในแง่ใด
ก.คำขึ้นต้น ข.คำลงท้าย ค.การลงชื่อ ง.ทั้ง ก. ข. และ ค.
22. การเขียนหนังสือราชการถึงพระภิกษุ-สามเณร ทั่วไป ใช้คำขึ้นต้นอย่างไร
ก.เรียน ข.กราบเรียน ค.ถึง ง.นมัสการ
23. ทรงบำเพ็ญพระราชกุศล ตรงกับคำสามัญว่าอย่างไร
ก.เดินทาง ข.ฟังเทศน์ ค.ทำบุญ ง.ไปวัด
24. การให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือราชการไปดู หรือคัดลอก ต้องได้รับอนุญาตจากใครก่อน
ก.เจ้าหน้าที่เก็บ ข.ประจำแผนก
ค.หัวหน้าแผนก ง.หัวหน้ากองหรือผู้ได้รับมอบหมาย
25. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ปี พ.ศ.
ก. พ.ศ.2526 ข. พ.ศ.2536 ค. พ.ศ.2546 ง. พ.ศ.2516
26. การปฏิบัติราชการที่มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนความสงบและ
ปลอดภัยของสังคมส่วนรวม ตลอดจนประโยชน์สูงสุดของประเทศ คือ
ก. การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
ข. การบริหารราชการเพื่อประโยชน์ของสังคม
ค. การบริหารราชการเพื่อประชาชน
ง. ถูกทุกข้อ
27. หนังสือราชการคืออะไร
ก.เอกสารทุกชนิดที่พิมพ์ถูกต้องตามกฎหมาย
ข.เอกสารที่เป็นหลักฐานในทางราชการ
ค.เอกสารที่มีไปถึงผู้ดำรงตำแหน่งในราชการ
ง.เอกสารที่ทางราชการเป็นเจ้าของ
28. แผนการบริหารตามข้อที่แล้ว เป็นแผน
ก. 2 ปี ข. 4 ปี ค. 8 ปี ง. แล้วแต่มติคณะรัฐมนตรีกำหนด
29. การจัดทำรายงานตามข้อที่แล้ว เสนอต่อ
ก. หัวหน้าส่วนราชการนั้น ข. รัฐมนตรีต้นสังกัด
ค. คณะรัฐมนตรี ง. ก.พ.ร.
30. ในการปฏิบัติภารกิจใด หากส่วนราชการจำเป็นต้องได้รับอนุญาต อนุมัติ หรือความเห็นชอบจากส่วนราชการ
อื่นตามที่มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือมติคณะรัฐมนตรีกำหนด ให้ส่วนราชการที่มีอำนาจ
อนุญาต อนุมัติ หรือให้ความเห็นชอบดังกล่าว แจ้งผลการพิจารณาให้ส่วนราชการที่ยื่นคำขอทราบภายใน
ก. 10 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 60 วัน
31. ในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริการประชาชนหรือการติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน
ให้ส่วนราชการแต่ละแห่งจัดทำ.......เปิดเผยไว้ ณ ที่ทำการของส่วนราชการและในระบบเครือข่ายสารสนเทศของ
ส่วนราชการ เพื่อให้ประชาชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าตรวจดู
ก. แผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลา ข. แผนภูมิการดำเนินการ
ค. แผนภูมิรายละเอียดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ง. ถูกทุกข้อ
32. การปฏิบัติราชการในเรื่องใด ๆ โดยปกติให้ถือว่าเป็นเรื่อง
ก. เปิดเผย ข. เรื่องลับ ค. ปกติ ง. ถูกทุกข้อ
33. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ส่วนราชการจะต้องดำเนินการตามภารกิจ โดยยึดถือประชาชนเป็นศูนย์กลาง
ข. ข้าราชการต้องรับฟังความคิดเห็นและบริการให้ประชาชนพึงพอใจ
ค. การดำเนินการที่กระทบต่อประชาชนส่วนราชการต้องจัดทำประชาพิจารณ์
ง. ถูกทุกข้อ
34. การปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ในเรื่องใด สมควร
ที่ส่วนราชการใดจะปฏิบัติเมื่อใด และจะต้องมีเงื่อนไขอย่างใด ต้องเป็นไปตาม
ก. นายกรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะของ ก.พ.ร.
ข. คณะฐัมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะของ ก.พ.ร.
ค. รัฐสภากำหนดตามข้อเสนอแนะของ ก.พ.ร.
ง. ถูกทุกข้อ
35. หน่วยงานใด มีอำนาจเสนอมาตรการกำกับการปฏิบัติราชการ ต่อคณะรับฒนตรี
ก. สำนักนายกรัฐมนตรี ข. ก.พ.ร. ค. กระทรวง ทบวง กรม ง. ถูกทุกข้อ
เฉลยธุรการ ชุดที่ 2
1. ก 2. ข 3. ค 4. ก 5. ง 6.ก 7. ง 8. ข 9. ง 10. ง 11. ข 12. ง 13. ค 14. ง 15. ค 16. ก 17. ก 18. ง 19. ข 20. ง 21.ง 22. ง 23. ค 24. ง 25. ค 26. ก 27. ข 28. ข 29. ค 30. ข 31. ง 32. ก 33. ง 34. ข 35. ข 36. ข 37. ข 38. ก 39. ข40. ง 41. ก 42. ค 43. ง 44. ก 45. ง 46. ข 47. ง 48. ก 49. ข 50. ค
ก. ส่วนราชการจะต้องดำเนินการตามภารกิจ โดยยึดถือประชาชนเป็นศูนย์กลาง
ข. ข้าราชการต้องรับฟังความคิดเห็นและบริการให้ประชาชนพึงพอใจ
ค. การดำเนินการที่กระทบต่อประชาชนส่วนราชการต้องจัดทำประชาพิจารณ์
ง. ถูกทุกข้อ
34. การปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ในเรื่องใด สมควร
ที่ส่วนราชการใดจะปฏิบัติเมื่อใด และจะต้องมีเงื่อนไขอย่างใด ต้องเป็นไปตาม
ก. นายกรัฐมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะของ ก.พ.ร.
ข. คณะฐัมนตรีกำหนดตามข้อเสนอแนะของ ก.พ.ร.
ค. รัฐสภากำหนดตามข้อเสนอแนะของ ก.พ.ร.
ง. ถูกทุกข้อ
35. หน่วยงานใด มีอำนาจเสนอมาตรการกำกับการปฏิบัติราชการ ต่อคณะรับฒนตรี
ก. สำนักนายกรัฐมนตรี ข. ก.พ.ร. ค. กระทรวง ทบวง กรม ง. ถูกทุกข้อ
เฉลยธุรการ ชุดที่ 2
1. ก 2. ข 3. ค 4. ก 5. ง 6.ก 7. ง 8. ข 9. ง 10. ง 11. ข 12. ง 13. ค 14. ง 15. ค 16. ก 17. ก 18. ง 19. ข 20. ง 21.ง 22. ง 23. ค 24. ง 25. ค 26. ก 27. ข 28. ข 29. ค 30. ข 31. ง 32. ก 33. ง 34. ข 35. ข 36. ข 37. ข 38. ก 39. ข40. ง 41. ก 42. ค 43. ง 44. ก 45. ง 46. ข 47. ง 48. ก 49. ข 50. ค
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น